บทความ 2 สัปดาห์ ก่อนสิ้น "อัศวิน"
ในโอกาสที่ประเทศไทย ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภา
บทความ เรื่อง "สนามแห่งตำนานศุภชลาศัย"
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2477 เมื่อ พ.อ. แปลก ขีตะสังคะ (จอมพล ป. พิบูลสงคราม) มอบถ้วยรางวัลให้แก่ทีมชนะเลิศฟุตบอลภายในกระทรวงกลาโหมแล้ว ก่อนที่จะเตรียมออกจากสนามหลวง ได้ถูกมือปืนบุกเดี่ยวเข้ายิง แต่เอี่ยวตัวหลบทัน อีก 3 ปีหลังจากนั้น เมื่อขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 3 ของประเทศไทย จึงได้อนุมัติงบประมาณกว่า 170,000 บาท ตามที่ น.อ.หลวงศุภชลาศัย (บุ้ง ศุภชลาศัย) เสนอเรื่องขึ้นไป เพื่อดำเนินงานสร้าง “สนามกรีฑาสถาน” (National Stadium) ณ บริเวณกรมพลศึกษา ปทุมวัน ซึ่งเป็นพื้นที่เช่าของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทความ เรื่อง "ทีมชาติสยาม กับ WORLD CUP"
เมื่อ สมาพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FEDERATION INTERNAIONAL OF FOOTBALL ASSOCIATION) หรือเรียกย่อว่า FIFA ก่อกำเนิดเกิดขึ้น โดยการประชุมร่วมกันของ 7 ชาติแรก อันได้แก่ ฝรั่งเศส, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ก, ฮอลแลนด์, สเปน, สวีเดน และสวิสเซอร์แลนด์ ใน ค.ศ. 1904 (พ.ศ. 2447) เพื่อต้องการให้เป็นองค์กรควบคุมการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติทั่วโลก
บทความ เรื่อง "เมอร์เดก้า เปสต้าสุกาน 1990"
เมื่อทีมตราธงไตรรงค์พลาดแม้กระทั่งเหรียญทองแดง กีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 15 (พ.ศ. 2532) ณ ประเทศมาเลเซีย จนไม่อาจจะกู้วิกฤตศรัทธาจากแฟนลูกหนังชาวไทยคืนมาได้ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ต้องทำสัญญาจ้างโค้ชชาวบราซิล เพื่อหวังสร้างนักเตะสายเลือดใหม่
บทความ เรื่อง "หักดาบซามูไร"
“ทีมชาติไทยอยู่นอกสายตาของพวกเรา” บทสัมภาษณ์ของ มร. ทาคาชิ โมริ โค้ชชาวอาทิตย์อุทัย ก่อนลงสนามพบกันระหว่าง ทีมชาติไทย กับ ทีมชาติญี่ปุ่น ฟุตบอลปรี-โอลิมปิก รอบ 10 ทีมสุดท้ายของทวีปเอเชีย ที่สิงค์โปร์ อาจเป็นเพราะสถิติเก่าที่เคยพบกันมา 15 ครั้ง ในรอบ 19 ปี นักเตะซามูไรยังไม่เคยปราชัยให้แก่ขุนพลลุ่มเจ้าพระยา แม้แต่แมทช์เดียว
บทความ เรื่อง “ทีมชาววัง” ตำนานลูกหนังไทย
สโมสรที่ก่อตั้งขึ้นด้วย “ปฏิภาณ” แห่งจิตวิญญาณนักกีฬา ปูชนียบุคคลของวงการฟุตบอลเมืองไทย ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณทุนพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อครั้งเดินทางไปศึกษาวิชาการฝึกลูกหนังชั้นสูง ณ ประเทศเยอรมนี เมื่อ พ.ศ.2505 ก่อนกลับแผ่นดินแม่ จนก่อเกิด “สโมสรราชวิถี” ที่กล่าวกันว่า คือ หนี่งในสุดยอดตำนานฟุตบอลสยามประเทศ